วัดบรมพุทธาราม
: จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่พักพระนครศรีอยุธยา{ พบ 21 รายการ }

เวลเนสโฮม รีสอร์ท แอนด์ สปา พระนครศรีอยุธยารีสอร์ทสำหรับคนรักษ์สุขภาพ อยู่บนเนื้อที่กว่า 1200 ไร่ ความสเข้าชม: 1163 | ความคิดเห็น: 0

THE LIMA PLACEWelcome to The Lima Place
The Lima Place is a modern stylisเข้าชม: 1135 | ความคิดเห็น: 0

บ้านจิตต์วิไลจิตต์วิไล เพลส และ บ้านจิตต์วิไล ยินดีต้อนรับทุกท่าน
เข้าชม: 1162 | ความคิดเห็น: 0

Pludhaya Resort & SpaPludhaya Resort & Spa, the first Thai style boutique resเข้าชม: 1155 | ความคิดเห็น: 0

the P.U. INN UBONPONWelcome to the P.U. INN UBONPON
One of the best places toเข้าชม: 1142 | ความคิดเห็น: 0

ผักไห่ แอ๊คคลูซีพ เฮ้าส์ผักไห่ แอ๊คคลูซีพ เฮ้าส์เข้าชม: 1116 | ความคิดเห็น: 0

กระท่อมเจ้าพระยาเรือนอาหารเจ้าพระยา
อิ่มอร่อยกับอาหารไทยสดๆ จากแม่น้ำบนเเข้าชม: 1134 | ความคิดเห็น: 0

โรงแรมอยุธยาธานีโรงแรมอยุธยาธานี เชิญคุณมาสัมผัส ห้องพักสไตล์โมเด้น ตั้งอยู่เข้าชม: 1130 | ความคิดเห็น: 0

The U-Thong InnThe U-Thong Inn is conveniently situated north of Bangkok inเข้าชม: 1105 | ความคิดเห็น: 0

Baan Suan means Garden HouseBaan Suan means Garden House in Thai. When we, the property เข้าชม: 1113 | ความคิดเห็น: 0

Woraburi Hotels & ResortsWelcome to Woraburi Hotels & Resorts ?Experience the difเข้าชม: 1145 | ความคิดเห็น: 0

มีทองเกสท์เฮาส์มีทองเกสท์เฮาส์เข้าชม: 1549 | ความคิดเห็น: 0

โรงแรม ณ อยุธยา ยินดีต้อนรับโรงแรม ณ อยุธยา ยินดีต้อนรับ
ขอต้อนรับท่านเข้าสู่โรงแรม ณเข้าชม: 1149 | ความคิดเห็น: 0

Ayutthaya Garden RiverAyutthaya Garden River Home is like a Gateway to Ayutthaya Wเข้าชม: 1106 | ความคิดเห็น: 0
อยู่ภายในบริเวณสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา สร้างในสมัยสมเด็จพระเพทราชา ประมาณ พ.ศ. 2231-2246 ณ บริเวณย่านป่าตองอันเป็นนิวาสสถานเดิมของพระองค์ ใกล้ประตูชัย ประตูใหญ่บนแนวกำแพงเมืองด้านใต้ ที่ตั้งของวัดถูกจำกัดโดยเส้นทางคมนาคมสมัยโบราณ คือด้านตะวันออกเป็นแนวคลองฉะไกรน้อย ด้านตะวันตกเป็นแนวถนนหลวงชื่อถนนมหารัฐยาหรือถนนป่าตอง แนวถนนและคลองดังกล่าวบังคับแผนผังของวัดให้วางตัวตามแนวเหนือใต้ โดยหันหน้าวัดไปทางทิศเหนือ วัดนี้แตกต่างจากวัดอื่นตรงที่ทรงโปรดฯให้ทำกระเบื้องเคลือบสีเหลืองขึ้นมุง หลังคาพระอุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ และใช้ประดับเจดีย์และซุ้มประตู จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “วัดกระเบื้องเคลือบ” ซึ่งใช้เวลาก่อสร้าง 2 ปี จึงแล้วเสร็จ ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงโปรดฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดนี้ครั้งใหญ่และให้ทำบานประตูมุกฝีมืองดงาม 3 คู่ บานประตูมุกนี้ปัจจุบัน คู่หนึ่งอยู่ที่หอพระมณเฑียรธรรมในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม คู่หนึ่งอยู่ที่วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม และอีกคู่หนึ่งมีผู้ตัดไปทำตู้หนังสือซี่งขณะนี้ตั้งแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร
Tags :ททท.